งานเคลือบผิวหรือฮาร์ดโครม โลหะ [ Steel hard chome]แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. การชุบบาง เป็นการชุบเพื่อยืดอายุการใช้งานของชิ้นส่วนเครื่องจักรกล ที่มักใช้ในงานที่มีอัตรา ความเสี่ยงต่อการสึกกร่อนสูง หรืองานที่อยู่ในสภาพที่มีการกัดกร่อนทางเคมี 2. การชุบหนา เป็นการชุบเพื่อซ่อมแซมชิ้นส่วนอะไหล่ที่ชำรุดเสียหาย ให้กลับมาใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพดังเดิมสามารถชุบหนาถึง 2.0มม.
คุณลักษณะจำเพาะ
เรียบลื่น เป็นมันเงา และไม่เป็นสนิม เหมาะสำหรับการชุบผิว แม่พิมพ์พลาสติก เพื่อสามารถ
แกะชิ้นงานออกได้ง่ายความสวยงาม และเพิ่มความแข็งแกร่งของชิ้นงานให้มีความแข็งสูงถึง 58-62 H.R.C
คุณสมบัติของชิ้นงานหลังการชุบฮาร์ดโครม
- ทนความร้อน (Heat Resistance)
- ค่าความแข็งสูง (High Hardness)
- ต้านทานการสึกกร่อนได้ดี (Good Wear Resistance)
- ต้านทานการกัดกร่อนจากสารเคมีได้ดี (Good Corrosion Resistance)
- สัมประสิทธิ์การเสียดทานต่ำ (Low Coefficient of Friction)
- ใช้อุณหภูมิในการซ่อมแซมต่ำ (Low Temperature Treatment)
เรียบลื่น เป็นมันเงา และไม่เป็นสนิม เหมาะสำหรับการชุบผิว แม่พิมพ์พลาสติก เพื่อสามารถ
แกะชิ้นงานออกได้ง่ายความสวยงาม และเพิ่มความแข็งแกร่งของชิ้นงานให้มีความแข็งสูงถึง 58-62 H.R.C
คุณสมบัติของชิ้นงานหลังการชุบฮาร์ดโครม
- ทนความร้อน (Heat Resistance)
- ค่าความแข็งสูง (High Hardness)
- ต้านทานการสึกกร่อนได้ดี (Good Wear Resistance)
- ต้านทานการกัดกร่อนจากสารเคมีได้ดี (Good Corrosion Resistance)
- สัมประสิทธิ์การเสียดทานต่ำ (Low Coefficient of Friction)
- ใช้อุณหภูมิในการซ่อมแซมต่ำ (Low Temperature Treatment)
ชุบอะไรได้บ้าง
- แกนลูกสูบไฮดรอลิค
- สกรูลำเลียง
- ลูกกลิ้งบดอัด
- เพลามอเตอร์
งานเคลือผิว ฮาร์ดโครม โลหะ
งานเคลือบโลหะด้วยคาร์บอนผง